ระบบบริหารจัดการความรู้

โรงเรียนบ้านเขว้าวิทยายน

Site Tools


plan60:plan60-15

กรอบแผนกลยุทธ์โรงเรียน

จาก 7 กลยุทธ์ สำคัญ นำเข้าสู่การจัดกรอบแผนกลยุทธ์โรงเรียน ที่ประกอบด้วยจุดเน้น มาตรการ และตัวชี้วัดความสำเร็จ ได้ดังนี้

ด้านคุณภาพศิษย์

  • ผู้เรียนเป็นคนดี มีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีความสามารถในการคิด และมีทักษะชีวิต
จุดเน้นมาตรการตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. ผู้เรียนเป็นคนดี 1.1 ผู้เรียนทุกชั้นปี ทำงาน ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ (นอกหลักสูตร) ไม่น้อยกว่า 50 ชั่วโมง/ปี/คน 1.1 ผู้เรียนทุกชั้นที่ทำงาน ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ (นอกหลักสูตร) ไม่น้อยกว่า 50 ชั่วโมง/ปี/คน ต่อจำนวนผู้เรียนทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 96
1. ผู้เรียนเป็นคนดี(ต่อ)1.2 ผู้เรียนทุกคนมีสมุดบันทึกความดี หรือหลักฐานการบันทึกความดี 1.2 มีชิ้นงานของผู้เรียนที่ปฏิบัติตามหลักฐานของสถานศึกษา เช่น สมุดบันทึกความดี คิดเป็นร้อยละ 94
2. ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร 2.1 ผู้เรียนในระดับชั้น ม.3 และ ม.6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) มีค่า T-Score≥40.00 ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของคะแนนรวมทุกช่วงชั้นที่สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้2.1 ผู้เรียนในระดับชั้น ม.3 และ ม.6 ที่มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) มีค่า T-Score≥40.00 ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของคะแนนรวมทุกช่วงชั้นที่สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 80
2. ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร(ต่อ) 2.2 ผู้เรียนห้องเรียน EIS ในระดับชั้น ม.3 และ ม.6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) มีค่า T-Score ≥ 50.00 ในแต่ละกลุ่มสาระทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้2.2 ผู้เรียนห้องเรียน EIS ในระดับชั้น ม.3 และ ม.6 ที่มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) มีค่า T-Score ≥ 50.00 ในแต่ละกลุ่มสาระทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 80
3. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด 3.1 ผู้เรียนระดับชั้น ม.3 และ ม.6 มีผลการทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ มีค่า T-Score≥40.003.1 ผู้เรียนระดับชั้น ม.3 และ ม.6 มีผลการทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ มีค่า T-Score≥40.00 คิดเป็นร้อยละ 90
4. ผู้เรียนมีทักษะชีวิต 4.1 ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์4.1 ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 96
4. ผู้เรียนมีทักษะชีวิต(ต่อ) 4.2 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตประเภทต่างๆ 4.2 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตประเภทต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 99
4. ผู้เรียนมีทักษะชีวิต(ต่อ) 4.3 สุขภาพกายของผู้เรียน โดยผู้ประเมินสุ่มตรวจผู้เรียนที่มีผู้เรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ตามหลักการสุ่มตัวอย่าง4.3 สุขภาพกายของผู้เรียน โดยการสุ่มตรวจผู้เรียนที่มีผู้เรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ตามหลักการสุ่มตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 96
4. ผู้เรียนมีทักษะชีวิต(ต่อ) 4.4 พัฒนาการสุขภาพของผู้เรียนสถานศึกษานำเสนอ รายชื่อผู้เรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทั้งหมดและที่มีพัฒนาการสุขภาพกาย ผู้ประเมินสุ่มตรวจตามหลักการสุ่มตัวอย่าง 4.4 พัฒนาการสุขภาพของผู้เรียนสถานศึกษานำเสนอ รายชื่อผู้เรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทั้งหมดและที่มีพัฒนาการสุขภาพกาย สุ่มตรวจตามหลักการสุ่มตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 96
4. ผู้เรียนมีทักษะชีวิต(ต่อ) 4.5 ผู้ประเมินสุ่มตรวจทักษะของผู้เรียนตามที่โรงเรียนส่งเสริม เช่น ว่ายน้ำ เล่นดนตรี มีทักษะการพิมพ์ เป็นต้น4.5 การสุ่มตรวจทักษะของผู้เรียนตามที่โรงเรียนส่งเสริม เช่น เล่นดนตรี มีทักษะการพิมพ์ เป็นต้น คิดเป็นร้อยละ 99

ด้านคุณภาพครู/อาจารย์

  • เป็นคนดี มีความสามารถ สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ และได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์
จุดเน้นมาตรการตัวชี้วัดความสำเร็จ
5. ครู/อาจารย์เป็นคนดี มีความสามารถ5.1 มีการระบุคุณธรรมที่โดดเด่นและมีแนวปฏิบัติร่วมกันที่นำไปสู่ความเป็นคนดีของครู/อาจารย์ 1) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) มีการดำเนินงานที่ชัดเจน สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง 5.1 มีการระบุคุณธรรมที่โดดเด่นและมีแนวปฏิบัติร่วมกันที่นำไปสู่ความเป็นคนดีของครู/อาจารย์ โดย 1) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) มีการดำเนินงานที่ชัดเจน สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 96
5. ครู/อาจารย์เป็นคนดี มีความสามารถ(ต่อ)5.2 มีการส่งเสริมให้ครู/อาจารย์ ผู้เรียน ผู้ปกครองประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดีจนเป็นวิถีชีวิต 1) มีผลการประเมินความสำเร็จ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของครู/อาจารย์ที่มีลักษณะความดีตามที่กำหนด 2) ผู้ประเมินพิจารณาพัฒนาการของคะแนน O-NET ทุกช่วงชั้นที่เปิดสอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบพัฒนาการของคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงขึ้น อย่างน้อย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 5.2 มีการส่งเสริมให้ครู/อาจารย์ ผู้เรียน ผู้ปกครองประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดีจนเป็นวิถีชีวิต โดย 1) มีผลการประเมินความสำเร็จ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของครู/อาจารย์ที่มีลักษณะความดีตามที่กำหนด 2) ผู้ประเมินพิจารณาพัฒนาการของคะแนน O-NET ทุกช่วงชั้นที่เปิดสอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบพัฒนาการของคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงขึ้น อย่างน้อย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 96
6. ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ6.1 ห้องเรียนที่สะอาด สุขลักษณะ สวยงาม6.1 ห้องเรียนที่สะอาด สุขลักษณะ สวยงาม คิดเป็นร้อยละ 96
6. ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ(ต่อ)6.2 ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพที่เป็นต้นแบบ อย่างน้อย 1 ห้อง 1) ปฏิบัติได้โดยผู้เรียนสามารถเข้าใช้ได้จริง 2) ประหยัด ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า 3) ประโยชน์ผู้เรียนได้รับความรู้ และเกิดทักษะในการปฏิบัติงาน 4) แปลกใหม่ ประยุกต์หรือริเริ่ม โดยความร่วมมือกับครู/อาจารย์ 5) ปลอดภัยต่อตนเอง และผู้อื่น6.2 ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพที่เป็นต้นแบบ อย่างน้อย 1 ห้อง 1) ปฏิบัติได้โดยผู้เรียนสามารถเข้าใช้ได้จริง 2) ประหยัด ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า 3) ประโยชน์ผู้เรียนได้รับความรู้ และเกิดทักษะในการปฏิบัติงาน 4) แปลกใหม่ ประยุกต์หรือริเริ่ม โดยความร่วมมือกับครู/อาจารย์ 5) ปลอดภัยต่อตนเอง และผู้อื่น คิดเป็นร้อยละ 96
7. ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์7.1 ครู/อาจารย์ประจำที่มีผลงาน เช่น คู่มือการสอน สื่อการสอน สิ่งประดิษฐ์ แบบจำลอง งานสร้างสรรค์ นวัตกรรมหรืองานวิจัยที่นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งได้รับการรับรองจากสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง7.1 ครู/อาจารย์ประจำที่มีผลงาน เช่น คู่มือการสอน สื่อการสอน สิ่งประดิษฐ์ แบบจำลอง งานสร้างสรรค์ นวัตกรรมหรืองานวิจัยที่นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งได้รับการรับรองจากสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คิดเป็นร้อยละ 96
7. ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์(ต่อ)7.2 การตรวจความสอดคล้องของผลงานกับการปฏิบัติจริงของครู/อาจารย์7.2 การตรวจความสอดคล้องของผลงานกับการปฏิบัติจริงของครู/อาจารย์ คิดเป็นร้อยละ 96
8. ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์8.1 ครู/อาจารย์ประจำที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเปิดภาคเรียน (นอกเวลาเรียน) อย่างน้อย 50 ชั่วโมง/ปี/คน8.1 ครู/อาจารย์ประจำที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเปิดภาคเรียน (นอกเวลาเรียน) อย่างน้อย 50 ชั่วโมง/ปี/คน คิดเป็นร้อยละ 96
8. ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์(ต่อ)8.2 ครู/อาจารย์ประจำที่ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ระหว่างปิดภาคเรียนอย่างน้อย 50 ชั่วโมง/ปี/คน8.2 ครู/อาจารย์ประจำที่ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ระหว่างปิดภาคเรียนอย่างน้อย 50 ชั่วโมง/ปี/คน คิดเป็นร้อยละ 96

ด้านการบริหารและธรรมาภิบาลของสถานศึกษา

  • ในการดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา การดำเนินงานของผู้อำนวยการ การบริหารความเสี่ยง และการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
จุดเน้นมาตรการตัวชี้วัดความสำเร็จ
9. การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา 9.1 การกำหนดนโยบาย หลักสูตร บทบาทหน้าที่ บริหารจัดการ โดยใช้ผลการประเมินตนเองและผลการประเมินภายนอกมาปรับปรุงคุณภาพการศึกษา 1) มีการกำหนดนโยบาย แนวทางการดำเนินงานให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ผู้เรียน เอกลักษณ์ สถานศึกษา และมีผลการพิจารณาแผนปฏิบัติการประจำปีที่ทันสมัยและปฏิบัติได้ 2) มีผลการพิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น 3) มีการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ โดยเน้นการกำกับติดตาม และสนับสนุนผู้บริหารในการปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนด 4) มีการบริหารจัดการประชุมที่ดี เช่น มีการกำหนดวันประชุมตลอดปี ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปี จัดส่งประเด็นการพิจารณาล่วงหน้า กำกับให้กรรมการแต่ละคนเข้าร่วมประชุม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนครั้งที่จัดประชุมทั้งปี 5) มีการนำผลประเมินตนเองของสถานศึกษา ผลประเมินภายใน (IQA โดยต้นสังกัด และผลประเมินภายนอก (EQA) โดย สมศ. ไปใช้ปรับปรุงคุณภาพการศึกษา9.1 การกำหนดนโยบาย หลักสูตร บทบาทหน้าที่ บริหารจัดการ โดยใช้ผลการประเมินตนเองและผลการประเมินภายนอกมาปรับปรุงคุณภาพการศึกษา 1) มีการกำหนดนโยบาย แนวทางการดำเนินงานให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ผู้เรียน เอกลักษณ์ สถานศึกษา และมีผลการพิจารณาแผนปฏิบัติการประจำปีที่ทันสมัยและปฏิบัติได้ 2) มีผลการพิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น 3) มีการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ โดยเน้นการกำกับติดตาม และสนับสนุนผู้บริหารในการปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนด 4) มีการบริหารจัดการประชุมที่ดี เช่น มีการกำหนดวันประชุมตลอดปี ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปี จัดส่งประเด็นการพิจารณาล่วงหน้า กำกับให้กรรมการแต่ละคนเข้าร่วมประชุม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนครั้งที่จัดประชุมทั้งปี 5) มีการนำผลประเมินตนเองของสถานศึกษา ผลประเมินภายใน (IQA โดยต้นสังกัด และผลประเมินภายนอก (EQA) โดย สมศ. ไปใช้ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาคิดเป็นร้อยละ 96
9. การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา (ต่อ)9.2 การสัมภาษณ์ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา9.2 การสัมภาษณ์ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 96
9. การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา (ต่อ)9.3 การสัมภาษณ์ผู้แทนกรรมการ 1-2 คน 9.3 การสัมภาษณ์ผู้แทนกรรมการ 1-2 คน คิดเป็นร้อยละ 96
9. การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา (ต่อ)9.4 การสัมภาษณ์ครู/อาจารย์ 3 – 4 คน9.4 การสัมภาษณ์ครู/อาจารย์ 3 – 4 คน คิดเป็นร้อยละ 96
10. การดำเนินงานของผู้อำนวยการ 10.1 มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน (Regular Data Monitoring) และตรวจสอบได้ 10.1 มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน (Regular Data Monitoring) และตรวจสอบได้ คิดเป็นร้อยละ 96
10. การดำเนินงานของผู้อำนวยการ (ต่อ)10.2 ผลการประเมินการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของผู้อำนวยการ โดยคณะกรรมการสถานศึกษา 10.2 ผลการประเมินการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของผู้อำนวยการ โดยคณะกรรมการสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 96
10. การดำเนินงานของผู้อำนวยการ (ต่อ)10.3 ร้อยละการอ่านจับใจความ (มัธยมศึกษา) โดยการสุ่มทดสอบผู้เรียนตามหลักการสุ่มตัวอย่าง 10.3 การอ่านจับใจความ (มัธยมศึกษา) โดยการสุ่มทดสอบผู้เรียนตามหลักการสุ่มตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 96
10. การดำเนินงานของผู้อำนวยการ (ต่อ)10.4 การนำผลการประเมินภายในและภายนอกมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 10.4 การนำผลการประเมินภายในและภายนอกมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 96
10. การดำเนินงานของผู้อำนวยการ (ต่อ)10.5 การสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาในประเด็นการปฏิบัติงานตามรายงานผลการประเมินตนเองและการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา10.5 การสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาในประเด็นการปฏิบัติงานตามรายงานผลการประเมินตนเองและการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 96
11. การบริหารความเสี่ยง11.1 บริหารความเสี่ยง 1) มีการระบุและจัดอันดับความเสี่ยงภายใน/ภายนอก ทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ 2) มีการกำหนดกลยุทธ์และเป้าหมายในการบริหารความเสี่ยง 3) มีการประเมินโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงและประเมินผลกระทบของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น 4) มีการกำหนดวิธีการ มาตรการ กลไกการควบคุมไม่ให้เกิด และลดความเสี่ยงให้น้อยลง 5) มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง11.1 บริหารความเสี่ยง 1) มีการระบุและจัดอันดับความเสี่ยงภายใน/ภายนอก ทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ 2) มีการกำหนดกลยุทธ์และเป้าหมายในการบริหารความเสี่ยง 3) มีการประเมินโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงและประเมินผลกระทบของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น 4) มีการกำหนดวิธีการ มาตรการ กลไกการควบคุมไม่ให้เกิด และลดความเสี่ยงให้น้อยลง 5) มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องคิดเป็นร้อยละ 96
11. การบริหารความเสี่ยง (ต่อ)11.2 การตรวจหลักฐานที่แสดงผลการบริหารจัดการความเสี่ยงที่สามารถควบคุมความเสี่ยงลำดับที่ 1-5 จากที่กำหนด11.2 การตรวจหลักฐานที่แสดงผลการบริหารจัดการความเสี่ยงที่สามารถควบคุมความเสี่ยงลำดับที่ 1-5 จากที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 96
11. การบริหารความเสี่ยง (ต่อ)11.3 สามารถลดความเสี่ยงได้ทุกเรื่องจากที่กำหนด 11.3 สามารถลดความเสี่ยงได้ทุกเรื่องจากที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 96
11. การบริหารความเสี่ยง (ต่อ)11.4 ไม่ปรากฏเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือประเภทความเสี่ยงที่กำหนด11.4 ไม่ปรากฏเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือประเภทความเสี่ยงที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 96
12. การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน12.1 มีบุคลากรสายสนับสนุนอย่างน้อย 1 คน 12.1 มีบุคลากรสายสนับสนุนอย่างน้อย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 100
12. การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน (ต่อ)12.2 มีการดำเนินงานให้บุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาอย่างน้อย 50 ชั่วโมง/ปี/คน 12.2 มีการดำเนินงานให้บุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาอย่างน้อย 50 ชั่วโมง/ปี/คน คิดเป็นร้อยละ 100
12. การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน (ต่อ)12.3 การสุ่มสัมภาษณ์บุคลากรสายสนับสนุนในประเด็น 1) มีการพัฒนา 2) มีการพัฒนาตรงกับงานที่เกี่ยวข้อง 3) มีการแบ่งเบาภาระงานธุรการของครู/อาจารย์12.3 การสุ่มสัมภาษณ์บุคลากรสายสนับสนุนในประเด็น 1) มีการพัฒนา 2) มีการพัฒนาตรงกับงานที่เกี่ยวข้อง 3) มีการแบ่งเบาภาระงานธุรการของครู/อาจารย์คิดเป็นร้อยละ 100

ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/ สังคม

  • การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคมและการให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรการตัวชี้วัดความสำเร็จ
13. การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม 13.1 การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม 1) มีเหตุผลในการกำหนดแผนงานการนำความรู้และประสบการณ์เพื่อประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง 5) มีผลประเมินความพึงพอใจของชุมชน/สังคมต่อสถานศึกษาได้คะแนนประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนน13.1 การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม 1) มีเหตุผลในการกำหนดแผนงานการนำความรู้และประสบการณ์เพื่อประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง 5) มีผลประเมินความพึงพอใจของชุมชน/สังคมต่อสถานศึกษาได้คะแนนประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 96
13. การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม (ต่อ) 13.2 การตรวจหลักฐานโครงการที่ประสบความสำเร็จที่สุด อย่างน้อย 1 โครงการ ในประเด็นต่อไปนี้ 1) มีความต่อเนื่องในการดำเนินงานไม่น้อยกว่า 3 ปี 2) มีความยั่งยืน พึ่งพาตนเอง ดำเนินการได้โดยไม่ใช้งบประมาณสถานศึกษา 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน/สังคม13.2 การตรวจหลักฐานโครงการที่ประสบความสำเร็จที่สุด อย่างน้อย 1 โครงการ ในประเด็นต่อไปนี้ 1) มีความต่อเนื่องในการดำเนินงานไม่น้อยกว่า 3 ปี 2) มีความยั่งยืน พึ่งพาตนเอง ดำเนินการได้โดยไม่ใช้งบประมาณสถานศึกษา 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน/สังคมคิดเป็นร้อยละ 96
14. การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา 14.1 การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา 1) มีเหตุผลในการกำหนดแผนดำเนินการความร่วมมือกับชุมชน/สังคมในด้านต่างๆ 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีส่วนร่วมของผู้เรียน ครู/อาจารย์และบุคลากร 5) มีการประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากรในสถานศึกษาที่มีต่อความร่วมมือกับชุมชน/สังคม ได้คะแนนผลประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนน14.1 การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา 1) มีเหตุผลในการกำหนดแผนดำเนินการความร่วมมือกับชุมชน/สังคมในด้านต่างๆ 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีส่วนร่วมของผู้เรียน ครู/อาจารย์และบุคลากร 5) มีการประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากรในสถานศึกษาที่มีต่อความร่วมมือกับชุมชน/สังคม ได้คะแนนผลประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 96
14. การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา (ต่อ) 14.2 การตรวจหลักฐานโครงการที่ประสบความสำเร็จที่สุด อย่างน้อย 1 โครงการ ในประเด็นต่อไปนี้ 1) มีผลการวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จ ในการร่วมมือกับชุมชน สังคม 2) มีการเผยแพร่และขยายผลในสถานศึกษาอื่น อย่างน้อย 9 แห่ง 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน/สังคม14.2 การตรวจหลักฐานโครงการที่ประสบความสำเร็จที่สุด อย่างน้อย 1 โครงการ ในประเด็นต่อไปนี้ 1) มีผลการวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จ ในการร่วมมือกับชุมชน สังคม 2) มีการเผยแพร่และขยายผลในสถานศึกษาอื่น อย่างน้อย 9 แห่ง 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน/สังคมคิดเป็นร้อยละ 96

ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

  • การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม และการพัฒนาสุนทรียภาพ
จุดเน้นมาตรการตัวชี้วัดความสำเร็จ
15. การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม 15.1 การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม 1) มีกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรัก ความนิยม ความชื่นชมความเป็นไทย 2) มีกิจกรรมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะฝีมือ ด้านศิลปะและวัฒนธรรมไทยและประเพณีที่ดีงาม 3) มีการจัดหางบประมาณหรือทรัพยากรสนับสนุนแหล่งเงินทุนทั้งจากภายใน/ภายนอก 4) มีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชน 5) มีการจัดให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม15.1 การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม 1) มีกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรัก ความนิยม ความชื่นชมความเป็นไทย 2) มีกิจกรรมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะฝีมือ ด้านศิลปะและวัฒนธรรมไทยและประเพณีที่ดีงาม 3) มีการจัดหางบประมาณหรือทรัพยากรสนับสนุนแหล่งเงินทุนทั้งจากภายใน/ภายนอก 4) มีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชน 5) มีการจัดให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมคิดเป็นร้อยละ 96
15. การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม (ต่อ)15.2 การตรวจหลักฐาน ในประเด็นดังต่อไปนี้ 1) มีการจัดพื้นที่เพื่อการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง 2) มีความร่วมมือของผู้เรียนและบุคลากรในการจัดกิจกรรม 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน/สังคม15.2 การตรวจหลักฐาน ในประเด็นดังต่อไปนี้ 1) มีการจัดพื้นที่เพื่อการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง 2) มีความร่วมมือของผู้เรียนและบุคลากรในการจัดกิจกรรม 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน/สังคมคิดเป็นร้อยละ 96
16. การพัฒนาสุนทรียภาพ 16.1 การพัฒนาสุนทรียภาพ 1) มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและบุคลากร 2) มีกิจกรรมพัฒนาโรงเรียน 3) มีกิจกรรมสืบสานประเพณี 4) มีกิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน 5) มีการประมวลความรู้ ประสบการณ์ที่ได้จากการดำเนินโครงการ และผลกระทบที่มีต่อผู้เรียน สถานศึกษา หรือชุมชน16.1 การพัฒนาสุนทรียภาพ 1) มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและบุคลากร 2) มีกิจกรรมพัฒนาโรงเรียน 3) มีกิจกรรมสืบสานประเพณี 4) มีกิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน 5) มีการประมวลความรู้ ประสบการณ์ที่ได้จากการดำเนินโครงการ และผลกระทบที่มีต่อผู้เรียน สถานศึกษา หรือชุมชนคิดเป็นร้อยละ 96
16. การพัฒนาสุนทรียภาพ (ต่อ)16.2 การตรวจสภาพจริงในประเด็นต่อไปนี้ 1) อาคารสถานที่เป็นระเบียบเรียบร้อยเอื้อต่อการใช้งาน 2) ภูมิสถาปัตย์ มีความสอดคล้องกับธรรมชาติเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม 3) สภาพแวดล้อมสะอาด สุขลักษณะ และสวยงาม16.2 การตรวจสภาพจริงในประเด็นต่อไปนี้ 1) อาคารสถานที่เป็นระเบียบเรียบร้อยเอื้อต่อการใช้งาน 2) ภูมิสถาปัตย์ มีความสอดคล้องกับธรรมชาติเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม 3) สภาพแวดล้อมสะอาด สุขลักษณะ และสวยงามคิดเป็นร้อยละ 96

ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์

  • อัตลักษณ์ผู้เรียน และเอกลักษณ์สถานศึกษา
จุดเน้นมาตรการตัวชี้วัดความสำเร็จ
17. อัตลักษณ์ผู้เรียน 17.1 อัตลักษณ์ผู้เรียน 1) มีเหตุผลในการกำหนดอัตลักษณ์ผู้เรียนของสถานศึกษาที่เหมาะสมและปฏิบัติได้ 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีส่วนร่วมของผู้เรียน ครู/อาจารย์ บุคลากร และผู้บริหารสถานศึกษา 5) มีการประเมินผลผู้เรียนที่ปรากฏอัตลักษณ์ ได้คะแนนผลประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนน17.1 อัตลักษณ์ผู้เรียน 1) มีเหตุผลในการกำหนดอัตลักษณ์ผู้เรียนของสถานศึกษาที่เหมาะสมและปฏิบัติได้ 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีส่วนร่วมของผู้เรียน ครู/อาจารย์ บุคลากร และผู้บริหารสถานศึกษา 5) มีการประเมินผลผู้เรียนที่ปรากฏอัตลักษณ์ ได้คะแนนผลประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 96
17. อัตลักษณ์ผู้เรียน (ต่อ)17.2 การสุ่มตรวจเพื่อยืนยันอัตลักษณ์ของผู้เรียนตามหลักการสุ่มตัวอย่าง17.2 การสุ่มตรวจเพื่อยืนยันอัตลักษณ์ของผู้เรียนตามหลักการสุ่มตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 96
18. เอกลักษณ์สถานศึกษา 18.1 เอกลักษณ์สถานศึกษา 1) มีเหตุผลในการกำหนดเอกลักษณ์สถานศึกษาที่เหมาะสมและปฏิบัติได้ 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีการดำเนินงานตามแผนที่กำหนด 5) มีผลการประเมินที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นจากประชาคม ได้คะแนนผลประเมิน ไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนน18.1 เอกลักษณ์สถานศึกษา 1) มีเหตุผลในการกำหนดเอกลักษณ์สถานศึกษาที่เหมาะสมและปฏิบัติได้ 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีการดำเนินงานตามแผนที่กำหนด 5) มีผลการประเมินที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นจากประชาคม ได้คะแนนผลประเมิน ไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 96
18. เอกลักษณ์สถานศึกษา (ต่อ)18.2 การตรวจหลักฐาน ประเด็นต่อไปนี้ 1) เป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงานที่เกี่ยวกับเอกลักษณ์สถานศึกษา 2) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องในมิติต่างๆ 3) มีความเป็น “ต้นแบบ” วิธีดำเนินการสู่ความสำเร็จ และมีการถ่ายโอนความรู้ด้านกระบวนการสู่สถานศึกษาอื่น18.2 การตรวจหลักฐาน ประเด็นต่อไปนี้ 1) เป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงานที่เกี่ยวกับเอกลักษณ์สถานศึกษา 2) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องในมิติต่างๆ 3) มีความเป็น “ต้นแบบ” วิธีดำเนินการสู่ความสำเร็จ และมีการถ่ายโอนความรู้ด้านกระบวนการสู่สถานศึกษาอื่นคิดเป็นร้อยละ 96

ด้านมาตรการส่งเสริม

  • มาตรการส่งเสริมภายในสถานศึกษา และมาตรการส่งเสริมภายนอกสถานศึกษา
จุดเน้นมาตรการตัวชี้วัดความสำเร็จ
19. มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา)19.1 ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ของผู้เรียนก่อนสำเร็จการศึกษา พิจารณาจาก 1) ใช้หลักฐานแรกเข้าและ/หรือสำเร็จการศึกษา หรือ 2) ใช้คะแนนจากคะแนนทดสอบภาษาอังกฤษของสถานศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไม่ต่ำกว่าระดับ A1 ตามมาตรฐาน CEFR (The Common European Framework of Reference for Languages)หรือเทียบเท่า - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ไม่ต่ำกว่าระดับ A2 ตามมาตรฐาน CEFR หรือเทียบเท่า19.1 ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ของผู้เรียนก่อนสำเร็จการศึกษา พิจารณาจาก 1) ใช้หลักฐานแรกเข้าและ/หรือสำเร็จการศึกษา หรือ 2) ใช้คะแนนจากคะแนนทดสอบภาษาอังกฤษของสถานศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไม่ต่ำกว่าระดับ A1 ตามมาตรฐาน CEFR (The Common European Framework of Reference for Languages)หรือเทียบเท่า - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ไม่ต่ำกว่าระดับ A2 ตามมาตรฐาน CEFR หรือเทียบเท่าคิดเป็นร้อยละ 96
19. มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา) (ต่อ)19.2 การทดสอบผู้เรียนก่อนสำเร็จการศึกษา ตามกลุ่มตัวอย่างที่สถานศึกษานำเสนอตามเกณฑ์ที่กำหนด19.2 การทดสอบผู้เรียนก่อนสำเร็จการศึกษา ตามกลุ่มตัวอย่างที่สถานศึกษานำเสนอตามเกณฑ์ที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 96
20. มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)20.1 มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา) 1) มีเหตุผลในการกำหนดความร่วมมือ และ/หรือช่วยเหลือชุมชน สังคมรอบสถานศึกษา 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3) มีแนวปฏิบัติและกระบวนการที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ และสร้างการมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง 5) มีผลการประเมินการแก้ปัญหาที่มีสัมฤทธิผลตรงตามความต้องการของชุมชน ได้คะแนนผลการประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนน20.1 มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา) 1) มีเหตุผลในการกำหนดความร่วมมือ และ/หรือช่วยเหลือชุมชน สังคมรอบสถานศึกษา 2) มีการกำหนดตัวบ่งชี้และระดับความสำเร็จของเป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 3) มีแนวปฏิบัติและกระบวนการที่ชัดเจนและต่อเนื่อง 4) มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ และสร้างการมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง 5) มีผลการประเมินการแก้ปัญหาที่มีสัมฤทธิผลตรงตามความต้องการของชุมชน ได้คะแนนผลการประเมินไม่น้อยกว่า 80 จาก 100 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 96
20. มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา) (ต่อ)20.2 การตรวจหลักฐานในประเด็นดังนี้ 1) มีผลการช่วยเหลือ/ความร่วมมือกับสถานศึกษาอื่นในการพัฒนาวิชาการอย่างน้อย 9 แห่ง 2) มีผลความร่วมมือกับท้องถิ่น/ชุมชน/สังคม/จังหวัด ในการป้องกัน แก้ปัญหา และ/หรือการ พัฒนาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 3 ประเด็น 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องระดับชาติ/นานาชาติ20.2 การตรวจหลักฐานในประเด็นดังนี้ 1) มีผลการช่วยเหลือ/ความร่วมมือกับสถานศึกษาอื่นในการพัฒนาวิชาการอย่างน้อย 9 แห่ง 2) มีผลความร่วมมือกับท้องถิ่น/ชุมชน/สังคม/จังหวัด ในการป้องกัน แก้ปัญหา และ/หรือการ พัฒนาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 3 ประเด็น 3) มีรางวัล/ได้รับการยอมรับ/ยกย่องระดับชาติ/นานาชาติ คิดเป็นร้อยละ 96

บรรหาร เจ๊กนอก 2016/10/25 05:30

Discussion

Enter your comment. Wiki syntax is allowed:
 
plan60/plan60-15.txt · แก้ไขครั้งล่าสุด: 2016/10/25 07:03 โดย บรรหาร เจ๊กนอก