ระบบบริหารจัดการความรู้

โรงเรียนบ้านเขว้าวิทยายน

Site Tools


group_science:cur_science

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
group_science:cur_science [2016/10/15 23:39]
บรรหาร เจ๊กนอก
group_science:cur_science [2016/11/18 14:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรหาร เจ๊กนอก
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
 +[[:​km:​start|{{:​customlogo.jpg?​direct&​300|}}]]
 +====== โครงสร้างหลักสูตร ======
 ====== กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ====== ====== กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ======
 ---- ----
  
-===== โครงสร้างหลักสูตร ===== +[[https://​sites.google.com/a/bkw.ac.th/​sci/​khorngsrang-raywicha|์ไปที่เว็บไซลุ่มสารการเรียนรู้วิทยาาสตร์]]
-==== ม.ต้น ==== +
-| ชั้น | ภาคเรียน | รหัส | รายวิชา | นก| ชม| ประเภท | +
-| ม.1 | รหัส | รายวชา | น. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.1 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.1 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.1 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.2 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.2 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.2 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.2 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.3 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.3 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.3 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.3 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-==== ม.ลาย เน้นวิย์-คณิต ==== +
-| ชั้น | ภาคเรยน | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | ประเภท | +
-| ม.4 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.4 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิติม | +
-| ม.4 | 2 | รหัส | รายิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.4 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเิม | +
-| ม.5 | 1 | รหัส | รายวิชา | น. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.5 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.5 | 2 | รหัส | รยวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.5 | 2 | หัส | รายวิชา | น. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.6 | 1 | รหัส | รยวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.6 | 1 | หัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.6 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.6 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-==== ม.ปลาย เน้นภาษา ==== +
-| ชั้น | ภาคเรียน ​หัส | รายวิชา | นก. | ชม. | ประเภท | +
-| ม.4 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.4 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.4 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.4 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.5 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.5 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.5 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.5 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.6 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.6 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.6 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.6 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-==== ม.ปลาย หลักสตรคู่ขนาน ==== +
-| ชัน | ภาคเรียน | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | ประเภท +
-| ม.4 | 1 | รหัส | ราวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐน | +
-| ม.4 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเิม | +
-| ม.4 | 2 | หัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.4 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.5 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.5 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.5 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.5 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.6 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.6 | 1 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม | +
-| ม.6 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | พื้นฐาน | +
-| ม.6 | 2 | รหัส | รายวิชา | นก. | ชม. | เพิ่มเติม |+
  
 ===== หลักสูตรสถานศึกษา 2551 ===== ===== หลักสูตรสถานศึกษา 2551 =====
-วิทยาศาสตร์+กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ​[[:​cur_science:​cur_sci59|ดาวน์โหลด]]
 ---- ----
  
 ===== สาระ ===== ===== สาระ =====
-วิทยาศาสตร์ 
 |  1| สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต | |  1| สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต |
 |  2| ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม | |  2| ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม |
บรรทัด 76: บรรทัด 21:
  
 ===== มาตรฐานการศึกษา ===== ===== มาตรฐานการศึกษา =====
-วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 +==== วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ==== 
- 1| ๑. สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ​ว ๑.๑ ​| +---- 
- 2| ๒. สังเกตและเปรียบเทียบส่วน ประกอบสำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ​ว ๑.๑ ​| +  ​๑. สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ว ๑.๑ 
- 3| ๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วน ประกอบที่สำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ​ว ๑.๑ ​| +  ​๒. สังเกตและเปรียบเทียบส่วน ประกอบสำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ว ๑.๑ 
- 4| ๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซิส ​ว ๑.๑ ​| +  ​๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วน ประกอบที่สำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ว ๑.๑ 
- 5| ๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสงคลอโรฟิลล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์น้ำ เป็นปัจจัยที่จำเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ​ว ๑.๑ ​| +  ​๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซิส ว ๑.๑ 
- 6| ๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ​ว ๑.๑ ​| +  ​๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสงคลอโรฟิลล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์น้ำ เป็นปัจจัยที่จำเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ว ๑.๑ 
- 7| ๗. อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ​ว ๑.๑ ​| +  ​๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ว ๑.๑ 
- 8| ๘. ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช ​ว ๑.๑ ​| +  ​๗. อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๑.๑ 
- 9| ๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลำเลียงน้ำและอาหารของพืช ​ว ๑.๑ ​| +  ​๘. ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช ว ๑.๑ 
- 10| ๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช ​ว ๑.๑ +  ​๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลำเลียงน้ำและอาหารของพืช ว ๑.๑ 
- 11| ๑๑. อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชโดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ ​ว ๑.๑ ​| +  ​๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช ว ๑.๑ 
- 12| ๑๒. ทดลองและอธิบายการตอบ สนองของพืช ต่อแสงน้ำ และการสัมผัส ​ว ๑.๑ +  ​๑๑. อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชโดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ ว ๑.๑ 
- 13| ๑๓. อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ปรับปรุงพันธุ์เพิ่มผลผลิตของพืชและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ​ว ๑.๑ ​| +  ​๑๒. ทดลองและอธิบายการตอบ สนองของพืช ต่อแสงน้ำ และการสัมผัส ว ๑.๑ 
- 14| ๑. ทดลองและจำแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม ​ว ๓.๑ ​| +  ​๑๓. อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ปรับปรุงพันธุ์เพิ่มผลผลิตของพืชและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๑ 
- 15| ๒. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร ​ว ๓.๑ ​| +  ​๑. ทดลองและจำแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม ว ๓.๑ 
- 16| ๓. ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดเบสของสารละลาย ​ว ๓.๑ ​| +  ​๒. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร ว ๓.๑ 
- 17| ๔.ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ​ว ๓.๑ ​| +  ​๓. ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดเบสของสารละลาย ว ๓.๑ 
- 18| ๑. ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ และอภิปรายการนำความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ ​ว ๓.๒ ​| +  ​๔.ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๑ 
- 19| ๒. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติมวลและพลังงานของสารเมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ​ว ๓.๒ ​| +  ​๑. ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ และอภิปรายการนำความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๒ 
- 20| ๓. อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ​ว ๓.๒ ​| +  ​๒. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติมวลและพลังงานของสารเมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ว ๓.๒ 
- 21| ๔. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร ​ว ๓.๒ ​| +  ​๓. อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๓.๒ 
- 22| ๑. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์ปริมาณเวกเตอร์ ​ว ๔.๑ ​| +  ​- ๓. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร ว ๓.๒ 
- 23| ๒. ทดลองและอธิบายระยะทางการกระจัดอัตราเร็วและความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ​ว ๔.๑ ​| +  ​๑. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์ปริมาณเวกเตอร์ ว ๔.๑ 
- 24| ๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ ​ว ๕.๑ ​| +  ​๒. ทดลองและอธิบายระยะทางการกระจัดอัตราเร็วและความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ว ๔.๑ 
- 25| ๒. สังเกต และอธิบายการถ่ายโอนความร้อนและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ​ว ๕.๑ ​| +  ​๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ ว ๕.๑ 
- 26| ๓. อธิบาย การดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผ่รังสี และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ​ว ๕.๑ ​| +  ​๒. สังเกต และอธิบายการถ่ายโอนความร้อนและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ 
- 27| ๔. อธิบายสมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของสาร และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ​ว ๕.๑ ​| +  ​๓. อธิบาย การดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผ่รังสี และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ 
- 28| ๑. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการ แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก ​ว ๖.๑ ​| +  ​๔. อธิบายสมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของสาร และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ว ๕.๑ 
- 29| ๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิความชื้นและความกดอากาศที่มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ​ว ๖.๑ ​| +  ​๑. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการ แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก ว ๖.๑ 
- 30| ๓. สังเกตวิเคราะห์และ อภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีผลต่อมนุษย์ ​ว ๖.๑ ​| +  ​๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิความชื้นและความกดอากาศที่มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ว ๖.๑ 
- 31| ๔. สืบค้นวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ ​ว ๖.๑ ​| +  ​๓. สังเกตวิเคราะห์และ อภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีผลต่อมนุษย์ ว ๖.๑ 
- 32| ๕. สืบค้นวิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ​ว ๖.๑ ​| +  ​๔. สืบค้นวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ ว ๖.๑ 
- 33| ๖. สืบค้นวิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก รูโหว่โอโซน และฝนกรด ​ว ๖.๑ ​| +  ​๕. สืบค้นวิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ว ๖.๑ 
- 34| ๗. สืบค้นวิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะโลกร้อนรูโหว่โอโซนและฝนกรดที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ​ว ๖.๑ ​| +  ​๖. สืบค้นวิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก รูโหว่โอโซน และฝนกรด ว ๖.๑ 
- 35| ๑. ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุ่มและเชื่อถือได้ ​ว ๘.๑ ​| +  ​๗. สืบค้นวิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะโลกร้อนรูโหว่โอโซนและฝนกรดที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๖.๑ 
- 36| ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ​ว ๘.๑ ​| +  ​๑. ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุ่มและเชื่อถือได้ ว ๘.๑ 
- 37| ๓. เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม ​ว ๘.๑ ​| +  ​๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ว ๘.๑ 
- 38| ๔. รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ​ว ๘.๑ ​| +  ​๓. เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม ว ๘.๑ 
- 39| ๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ ​ว ๘.๑ ​| +  ​๔. รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ว ๘.๑ 
- 40| ๖. สร้างแบบจำลองหรือรูปแบบที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ ​ว ๘.๑ ​| +  ​๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ 
- 41| ๗. สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ​ว ๘.๑ ​| +  ​๖. สร้างแบบจำลองหรือรูปแบบที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ 
- 42| ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ​ว ๘.๑ ​| +  ​๗. สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑ 
- 43| ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/​หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ​ว ๘.๑ ​|+  ​๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ว ๘.๑ 
 +  ​๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/​หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑
  
-วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.2 +==== วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.2 ==== 
-  - ๑. อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบย่อยอาหารระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจระบบขับถ่ายระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์รวมทั้งระบบประสาทของมนุษย์ ว ๑.๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต +---- 
-  - ๒. อธิบายความ สัมพันธ์ของระบบต่างๆ ของมนุษย์และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต + 
-  - ๓. สังเกตและอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายใน ว ๑.๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต +  - ๑. อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบย่อยอาหารระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจระบบขับถ่ายระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์รวมทั้งระบบประสาทของมนุษย์ ว ๑.๑ 
-  - ๔. อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ปรับปรุงพันธุ์และเพิ่มผลผลิตของสัตว์และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต +  - ๒. อธิบายความ สัมพันธ์ของระบบต่างๆ ของมนุษย์และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๑ 
-  - ๕. ทดลองวิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย ว ๑.๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต +  - ๓. สังเกตและอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายใน ว ๑.๑ 
-  - ๖. อภิปรายผลของสารเสพติดต่อระบบต่าง ๆของร่างกายและแนวทางในการป้องกันตนเองจากสารเสพติด ว ๑.๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต +  - ๔. อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ปรับปรุงพันธุ์และเพิ่มผลผลิตของสัตว์และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๑ 
-  - ๑. สำรวจและอธิบายองค์ประกอบสมบัติของธาตุและสารประกอบ ว ๓.๑ สารและสมบัติของสาร +  - ๕. ทดลองวิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย ว ๑.๑ 
-  - ๒. สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติของธาตุโลหะธาตุอโลหะธาตุกึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสีและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๑ สารและสมบัติของสาร +  - ๖. อภิปรายผลของสารเสพติดต่อระบบต่าง ๆของร่างกายและแนวทางในการป้องกันตนเองจากสารเสพติด ว ๑.๑ 
-  - ๓. ทดลองและอธิบายการหลักการแยกสารด้วยวิธีการกรองการตกผลึกการสกัดการกลั่น และโครมาโทกราฟีและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๑ สารและสมบัติของสาร +  - ๑. สำรวจและอธิบายองค์ประกอบสมบัติของธาตุและสารประกอบ ว ๓.๑ 
-  - ๑. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานเมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ว ๓.๒ สารและสมบัติของสาร +  - ๒. สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติของธาตุโลหะธาตุอโลหะธาตุกึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสีและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๑ 
-  - ๒. ทดลองอธิบายและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาของสารต่าง ๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๒ สารและสมบัติของสาร +  - ๓. ทดลองและอธิบายการหลักการแยกสารด้วยวิธีการกรองการตกผลึกการสกัดการกลั่น และโครมาโทกราฟีและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๑ 
-  - ๓. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของสารเคมีปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๓.๒ สารและสมบัติของสาร +  - ๑. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานเมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ว ๓.๒ 
-  - ๔. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย วิธีป้องกันและแก้ไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี ว ๓.๒ สารและสมบัติของสาร +  - ๒. ทดลองอธิบายและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาของสารต่าง ๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๒ 
-  - ๑. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ ว ๔.๑ แรงและการเคลื่อนที่ +  - ๓. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของสารเคมีปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๓.๒ 
-  - ๒. อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ว ๔.๑ แรงและการเคลื่อนที่ +  - ๔. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย วิธีป้องกันและแก้ไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี ว ๓.๒ 
-  - ๑. ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงการหักเหของแสง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ พลังงาน +  - ๑. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ ว ๔.๑ 
-  - ๒. อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ว ๕.๑ พลังงาน +  - ๒. อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ว ๔.๑ 
-  - ๓. ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสงสีการมองเห็นสีของวัตถุ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ พลังงาน +  - ๑. ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงการหักเหของแสง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ 
-  - ๑. สำรวจทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๒. อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ว ๕.๑ 
-  - ๒. สำรวจวิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๓. ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสงสีการมองเห็นสีของวัตถุ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ 
-  - ๓. ทดลองเลียนแบบเพื่ออธิบายกระบวนการเกิดและลักษณะองค์ประกอบของหิน ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๑. สำรวจทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน ว ๖.๑ 
-  - ๔. ทดสอบและสังเกตองค์ประกอบและสมบัติของหิน เพื่อจำแนกประเภทของหินและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๒. สำรวจวิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน ว ๖.๑ 
-  - ๕. ตรวจสอบและอธิบายลักษณะทางกายภาพของแร่และการนำไปใช้ประโยชน์ ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๓. ทดลองเลียนแบบเพื่ออธิบายกระบวนการเกิดและลักษณะองค์ประกอบของหิน ว ๖.๑ 
-  - ๖ สืบค้นและอธิบายกระบวนการเกิด ลักษณะและสมบัติของปิโตรเลียมถ่านหิน หินน้ำมัน และการนำไปใช้ประโยชน์ ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๔. ทดสอบและสังเกตองค์ประกอบและสมบัติของหิน เพื่อจำแนกประเภทของหินและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๖.๑ 
-  - ๗. สำรวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้ำธรรมชาติการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่งน้ำในท้องถิ่น ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๕. ตรวจสอบและอธิบายลักษณะทางกายภาพของแร่และการนำไปใช้ประโยชน์ ว ๖.๑ 
-  - ๘. ทดลองเลียนแบบ และอธิบาย การเกิดแหล่งน้ำบนดินแหล่งน้ำใต้ดิน ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๖ สืบค้นและอธิบายกระบวนการเกิด ลักษณะและสมบัติของปิโตรเลียมถ่านหิน หินน้ำมัน และการนำไปใช้ประโยชน์ ว ๖.๑ 
-  - ๙. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการผุพังอยู่กับที่การกร่อนการพัดพาการทับถมการตกผลึกและผลของกระบวนการดังกล่าว ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๗. สำรวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้ำธรรมชาติการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่งน้ำในท้องถิ่น ว ๖.๑ 
-  - ๑๐. สืบค้น สร้างแบบจำลองและ อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ว ๖.๑ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก +  - ๘. ทดลองเลียนแบบ และอธิบาย การเกิดแหล่งน้ำบนดินแหล่งน้ำใต้ดิน ว ๖.๑ 
-  - ๑. ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุ่มและเชื่อถือได้ ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๙. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการผุพังอยู่กับที่การกร่อนการพัดพาการทับถมการตกผลึกและผลของกระบวนการดังกล่าว ว ๖.๑ 
-  - ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๑๐. สืบค้น สร้างแบบจำลองและ อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ว ๖.๑ 
-  - ๓. เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๑. ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุ่มและเชื่อถือได้ ว ๘.๑ 
-  - ๔. รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ว ๘.๑ 
-  - ๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๓. เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม ว ๘.๑ 
-  - ๖. สร้างแบบจำลองหรือรูปแบบที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๔. รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ว ๘.๑ 
-  - ๗. สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ 
-  - ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี +  - ๖. สร้างแบบจำลองหรือรูปแบบที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ 
-  - ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/​หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโโลยี+  - ๗. สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑ 
 +  - ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ว ๘.๑ 
 +  - ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/​หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑ 
 + 
 +==== วิทยาศาสตร์ ​ชั้น ม.3 ==== 
 +----
  
-วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.3 
   - ๑. สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส ว ๑.๒   - ๑. สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส ว ๑.๒
   - ๒. อธิบายความสำคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอและกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ว ๑.๒   - ๒. อธิบายความสำคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอและกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ว ๑.๒
บรรทัด 203: บรรทัด 153:
  
  
-วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.4-6+==== วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.4-6 ​==== 
 +---- 
 + 
 +  - ๑. ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว ๑.๑ 
 +  - ๒. ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช ว ๑.๑ 
 +  - ๓. สืบค้นข้อมูลและอธิบายกลไกการควบคุมดุลยภาพของน้ำ แร่ธาตุ และอุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๑ 
 +  - ๔. อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและนำความรู้ไปใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพ ว ๑.๑ 
 +  - ๑. อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ว ๑.๒ 
 +  - ๒. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๒ 
 +  - ๓. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ว ๑.๒ 
 +  - ๔. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติต่อความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ว ๑.๒ 
 +  - ๑. อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ ว ๒.๑ 
 +  - ๒. อธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต ว ๒.๑ 
 +  - ๓. อธิบายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และเสนอแนะแนวทางในการดูแลและรักษา ว ๒.๑ 
 +  - ๑. วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก ว ๒.๒ 
 +  - ๒. อภิปรายแนวทางในการป้องกันแก้ไข ปัญหา สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ว ๒.๒ 
 +  - ๓. วางแผนและดำเนินการเฝ้าระวังอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติ ว ๒.๒ 
 +  - ๑. สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ ว ๓.๑ 
 +  - ๒. วิเคราะห์และอธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา ว ๓.๑ 
 +  - ๓. อธิบายการจัดเรียงธาตุและทำนายแนวโน้มสมบัติของธาตุในตารางธาตุ ว ๓.๑ 
 +  - ๔. วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร ว ๓.๑ 
 +  - ๕. สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดจุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร ว ๓.๑ 
 +  - ๑. ทดลอง อธิบายและเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำวัน รวมทั้งอธิบายผลของสารเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๓.๒ 
 +  - ๒. ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๓.๒ 
 +  - ๓. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ และการกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ ว ๓.๒ 
 +  - ๔. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติและการกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลของผลิตภัณฑ์ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๓.๒ 
 +  - ๕. ทดลองและอธิบายการเกิดพอลิเมอร์สมบัติของพอลิเมอร์ ว ๓.๒ 
 +  - ๖. อภิปรายการนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลที่เกิดจากการผลิตและใช้พอลิเมอร์ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๓.๒ 
 +  - ๗. ทดลองและอธิบายองค์ประกอบประโยชน์และปฏิกิริยาบางชนิดของคาร์โบไฮเดรต ว ๓.๒ 
 +  - ๘. ทดลองและอธิบายองค์ประกอบประโยชน์ และปฏิกิริยาบางชนิดของไขมันและน้ำมัน ว ๓.๒ 
 +  - ๙. ทดลองและอธิบายองค์ประกอบประโยชน์ และปฏิกิริยาบางชนิดของโปรตีน และกรดนิวคลีอิก ว ๓.๒ 
 +  - ๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับ การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และอธิบายการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๔.๑ 
 +  - ๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับ การเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๔.๑ 
 +  - ๓. ทดลองและอธิบายความ สัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนาม แม่เหล็ก และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๔.๑ 
 +  - ๔. วิเคราะห์และอธิบายแรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้าระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส ว ๔.๑ 
 +  - ๑. อธิบายและทดลองความ สัมพันธ์ระหว่างการกระจัด เวลา ความเร็วความเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวตรง ว ๔.๒ 
 +  - ๒. สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ว ๔.๒ 
 +  - ๓. อภิปรายผลการสืบค้นและประโยชน์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ว ๔.๒ 
 +  - ๑. ทดลองและอธิบายสมบัติ ของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น ว ๕.๑ 
 +  - ๒. อธิบายการเกิดคลื่นเสียงบีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้ยินเสียงคุณภาพเสียง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ 
 +  - ๓. อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์ และการเสนอวิธีป้องกัน ว ๕.๑ 
 +  - ๔. อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และนำเสนอผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ และการป้องกันอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ว ๕.๑ 
 +  - ๕. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชันฟิวชัน และความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน ว ๕.๑ 
 +  - ๖. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์และผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ว ๕.๑ 
 +  - ๗. อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และการนำไปใช้ประโยชน์ ว ๕.๑ 
 +  - ๘. อธิบายชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี ว ๕.๑ 
 +  - ๙. อธิบายการเกิดกัมมันตภาพ รังสีและบอกวิธีการตรวจสอบรังสีในสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๕.๑ 
 +  - ๑. สืบค้นและอธิบายหลักการในการแบ่งโครงสร้างโลก ว ๖.๑ 
 +  - ๒. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก ว ๖.๑ 
 +  - ๓. ทดลองเลียนแบบ และอธิบายกระบวนการเกิดภูเขา รอยเลื่อน รอยคดโค้ง แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ว ๖.๑ 
 +  - ๔. สืบค้นและอธิบายความ สำคัญของปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิดที่ส่งผลต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๖.๑ 
 +  - ๕. สำรวจ วิเคราะห์และอธิบายการลำดับชั้นหิน จากการวางตัวของชั้นหิน ซากดึกดำบรรพ์และโครงสร้างทางธรณีวิทยาเพื่ออธิบายประวัติความเป็นมาของพื้นที่ ว ๖.๑ 
 +  - ๖. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายประโยชน์ของข้อมูลทางธรณีวิทยา ว ๖.๑ 
 +  - ๑. สืบค้นและอธิบายการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะกาแล็กซีและเอกภพ ว ๗.๑ 
 +  - ๒. สืบค้นและอธิบายธรรมชาติและวัฒนาการของดาวฤกษ์ ว ๗.๑ 
 +  - ๑. สืบค้นและอธิบายการส่งและคำนวณความเร็วในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก ว ๗.๒ 
 +  - ๒. สืบค้นและอธิบายประโยชน์ของดาวเทียมในด้านต่าง ๆ ว ๗.๒ 
 +  - ๓. สืบค้นและอธิบายการส่งและสำรวจอวกาศโดยใช้ยานอวกาศและสถานีอวกาศ ว ๗.๒ 
 +  - ๑. ตั้งคำถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจหรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถทำการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว ๘.๑ 
 +  - ๒. สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจำลองหรือสร้างรูปแบบ เพื่อนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ 
 +  - ๓. ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสำคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจำนวนครั้งของการสำรวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ ว ๘.๑ 
 +  - ๔. เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัดการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ ว ๘.๑ 
 +  - ๕. รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล ว ๘.๑ 
 +  - ๖. จัดกระทำข้อมูล โดยคำนึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนำเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ว ๘.๑ 
 +  - ๗. วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือสาระสำคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว ๘.๑ 
 +  - ๘. พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการและผลการสำรวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความคลาดเคลื่อน ของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ ว ๘.๑ 
 +  - ๙. นำผลของการสำรวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคำถามใหม่ นำไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง ว ๘.๑ 
 +  - ๑๐. ตระหนักถึงความสำคัญในการที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นำเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง ว ๘.๑ 
 +  - ๑๑. บันทึกและอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผลใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิม อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์ พยานใหม่เพิ่มติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวังอันจะนำมาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่ ว ๘.๑ 
 +  - ๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงานและ/​หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑ 
 + 
  
group_science/cur_science.1476549556.txt.gz · แก้ไขครั้งล่าสุด: 2016/10/15 23:39 โดย บรรหาร เจ๊กนอก